วันศุกร์ที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2556

Ku Phra Ko na

Ku Phra Ko na




Location: Amphoe Suwannaphum
Ku Phra Ko Na is comprised of 3 brick prangs built on sandstone base, lining from north to south and facing east. The wall and gates at all 4 sides was also built with sandstone.
The central prang was renovated in 1874 by plastering and making the roof into tiers. Each tier has niches of Buddha images in four directions. The front of the central prang was a ‘wihan’ of the Buddha’s footprint, decorated with the original six-headed Naga. The northern prang was covered with a ‘sala’ building providing shelter for a gable depicting the Ramayana. The lintel carving representing the reclining Vishnu remains in situ above the front entrance. The lintel of the western false door was laid on the floor; it depicts the God Vishnu on his mount Garuda. The southern prang still has lintels above the false doors.
It is assumed that Ku Phra Kona formerly had a Naga bridge and causeway lined with boundary stones on both sides from the front entrance pavilion (Gopura) to the lake (Baray), which was located about 300 metres away. All sculptural features suggest that Ku Phra Kona probably dates from the Baphoun period, or the 11th century.
Opening Hours: Daily from 08.30 am. - 04.30 pm.
Admission: FreeHow to get there: Take Highway No.215, pass Amphoe Mueang Suang, Amphoe Suwannaphum and then to Highway No.214, continue for 12 km. Ku Phra Ko Na is on the left.

กู่พระโกนา

กู่พระโกนา ตั้งอยู่ที่บ้านกู่ หมู่ที่ 2 ตำบลสระคู อำเภอสุวรรณภูมิ การเดินทาง จากจังหวัดร้อยเอ็ดเดินทางตามทางหลวงสาย
215 ผ่านอำเภอเมืองสรวง แล้วเข้าสาย 202 ผ่าน อ.สุวรรณภูมิ จากนั้นเข้าสาย214 ไปประมาณ 12 กิโลเมตร ถึงกู่พระโกนา
ระยะทางประมาณ 60 กิโลเมตร จากตัวจังหวัดปัจจุบันมีวัดสร้างอยู่ในบริเวณเดียวกัน มีถนนเป็นทางแยกเข้าไป ทางด้านซ้ายมือ
ด้านหน้าจะเป็นสวนยางกู่พระโกนาประกอบด้วยปรางค์อิฐ 3 องค์ บนฐานศิลาทรายเรียงจากเหนือ – ใต้ทั้งหมดหันหน้าไปทาง
ทิศตะวันออก มีกำแพงล้อม และซุ้มประตูเข้า – ออกทั้งปรางค์องค์ กลางถูกดัดแปลงเมื่อ พ.ศ. 2471 โดยการฉาบปูนทับ

และก่อขึ้นเป็นชั้น ๆ แต่ละชั้นมีซุ้มพระทั้ง 4 ทิศ หน้าปรางค์องค์กลางชั้นล่างสร้างเป็นวิหาร พระพุทธบาท ประดับเศียรนาค 6 เศียร
ของเดิมไว้ด้านหน้าส่วน ปรางค์อีก 2 องค์ ก็ได้รับการบูรณะจากทางวัด เช่นกัน แต่ไม่ถึงกับเปลี่ยนรูปทรงอย่างปรางค์องค์กลาง
ปรางค์องค์กลางถูกดัดแปลงเมื่อ พ.ศ. 2471 โดยการฉาบปูนทับและก่อขึ้นเป็นชั้น ๆ แต่ละชั้นมีซุ้มพระทั้ง 4 ทิศ หน้าปรางค์องค์กลาง
ชั้นล่าง สร้างเป็นวิหาร มีพระพุทธบาทประดับ เศียรนาค 6 เศียรของเดิมไว้ด้านหน้า ส่วนปรางค์ อีก 2 องค์ ก็ได้รับการบูรณะจากทาง
วัดเช่นกันแต่ไม่ถึงกับเปลี่ยนรูปทรงอย่างปรางค์องค์กลาง ปรางค์องค์ทิศเหนือ ทางวัดสร้างศาลาครอบ ภายในมีหน้า
บันสลักรามายณะและประทับสลัก ภาพพระนารายณ์บรรทมสินธุ์อยู่ที่เดิมคือเหนือประตูทาง ด้านหน้า  ส่วนทับหลังประตูด้านทิศตะวันตก
หล่นอยู่บน พื้นเป็นรูปนารายณ์ทรงครุฑปรางค์องค์ทิศใต้ยังคงมีทับหลังของเดิมเหนือประตู หลอกด้านทิศเหนือเป็นภาพเทวดานั่งชันเข่า
ในซื้อเรือนแก้วเหนือหน้ากาลนอกจากนี้ ทางด้านหน้ายังมีทับหลังหล่นที่พื้นเป็นภาพพระอิศวรประทับนั่งบนหลังโคและมีเสานางเรียง
วางอยู่ด้วย สันนิษฐานว่ากู่พระโกนาเดิมคงจะมีสะพานนาคและทาง เดินประทับเสานางเรียงทอดต่อจากซุ้มประตูหน้าไปยัง
สระน้ำหรือบาราย ซึ่งอยู่ห่างออกไปประมาณ 300 เมตร จากรูปแบบลักษณะทางศิลปกรรมทั้งหมดของภาพสลัก และเสากรอบประตู
ซึ่งเป็นศิลปะขอม ที่มีอายุในราว พ.ศ. 1560-1630 (แบบปาปวน) สันนิษฐานว่ากู่พระโกนาคงจะสร้างขึ้นในราว พุทธศตวรรษที่ 16

เปิดบริการเวลา: ทุกวันตั้งแต่ 08.30 - 04:30

เข้าชม: ใช้ทางหลวงหมายเลข215 ผ่านอำเภอเมืองสรวงอำเภอสุวรรณภูมิแล้วใช้
ทางหลวงหมายเลขหมายเลข214 ดำเนินต่อไป 12 กม. กู่พระโกนาอยู่บนเกาะด้านซ้าย


Vocabulary (คำศัพท์) : 
comprise              ประกอบด้วย
sandstone            หินทราย                     
carving                 แกะสลัก
original                 ดั้งเดิม
provide                ให้
highway               ถนนทางหลวง
north                     ทิศเหนือ
south                     ทิศใต้
direction              
ทิศทาง
footprint
               รอยพระบาทdecorate                ตกแต่ง
represent
               แสดง
entrance
                ทางเข้า
depict
                     พรรณนาboundary              ขอบเขตsculptural              เกี่ยวกับประติมากรรมfeatures                 คุณสมบัติ
suggest                  
แนะนำ
probably
               อาจ
period
                    ระยะเวลา

Reference : http://www.roiet.go.th/visit101/

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น